ปัจจุบันขณะนั้น นิทรรศการภาพพิมพ์ แกะไม้โดย สุรชัย เอกพลากร พิมพ์
วันพฤหัสบดีที่ 01 กรกฏาคม 2010 เวลา 18:30 น.

ปัจจุบันขณะนั้น

นิทรรศการภาพพิมพ์ แกะไม้โดย สุรชัย เอกพลากร

ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันที่ 1-30 กรกฎาคม 2553
พิธีเปิดนิทรรศการ วันพฤหัสบดีที่
1 กรกฎาคม 2553 เวลา 18.00-20.00 น.

สุรชัย เอกพลากร จบปริญญาตรีสาขาการสอนวิชาเฉพาะ (ศิลปศึกษา) จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วจึงเดินทางไปศึกษาต่อทางด้านภาพพิมพ์ที่มหาวิทยาลัยศิลปะทามะ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นกลับมาทำงานเป็นอาจารย์สอนศิลปะ อยู่ที่ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2537 มาจนถึงปัจจุบัน

ผลงานภาพพิมพ์ของ ผศ. สุรชัย เอกพลากร มีหลากหลายรูปแบบและหลากหลายเทคนิควิธีการ แต่เทคนิคที่เป็นเฉพาะและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องมากที่สุดก็คือ ภาพพิมพ์ แกะไม้

และในการจัดแสดง นิทรรศการเดี่ยวครั้งนี้ จัดขึ้น ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีแนวคิดดังต่อไปนี้

‘ผมชอบ รูป ลักษณ์และพลังที่พวย พุ่งของรอยทีแปรง

ผมมีความรู้สึก อิ่ม เอม และสุขใจ

จากการที่ได้ สะบัด ทีแปรงที่ ”ได้ ความ รู้สึก” ลงบนพื้นที่ว่าง

ผมชอบแกะไม้ ในบางครั้งการแกะรอยทีแปรง

ที่ได้ป้ายปาด ไว้บน แผ่นไม้ ให้เหมือนจริงมากที่สุด

ทำให้ผมสนุก สนานและ ตื่นเต้นกับผลที่ได้เป็นอย่างยิ่ง

ผมชอบแกะไม้ และบางครั้ง การควบคุมรอยแกะไม้ ให้ลื่นไหล อ่อนช้อย

แต่เป็นระบบ เหมือนเส้นสายในลายไทย

ก็ทำให้ผม รู้สึก ละเมียดละไมอย่างมี พลังสุดๆ

ผมชอบงานศิลปะ ที่มีความงาม ทั้งในด้านทักษะ

การสื่ออารมณ์ ความ รู้สึก และความคิด

ผมพยายามสื่อ ทักษะ ในการทำ งานของผม

ผ่านความ ”ลงตัว” ของการสะบัดทีแปรง

ความสามารถใน การแกะ ไม้ และการพิมพ์

ผมพยายามสื่อ อารมณ์ ความรู้สึกใน การทำงานศิลปะของผม

ผ่าน จังหวะ ท่าที น้ำหนัก และสีสัน ของรอยทีแปรง

ผมพยายามสื่อ ความ คิดทางศิลปะ ของผม

ที่เกี่ยวข้อง กับ การรับรู้ของ มนุษย์ว่า สิ่งที่เราคิดว่าเราเห็น

กับสิ่งที่เป็น อยู่ จริงๆแล้วนั้น อาจไม่ใช่สิ่งเดียวกัน

ผ่านรอยทีแปรง บน กระดาษ ที่ปราดแรกดูเหมือนงานจิตรกรรม

ที่ใช้เวลา สะบัดปาด ป้ายเพียง ไม่กี่วินาที

แต่แท้จริงแล้ว เป็น ผลงานภาพพิมพ์ แกะไม้

ที่ต้องใช้เวลา ใน การสร้างสรรค์มากกว่า มาก

การทำงานศิลปะ ทำให้ ผมมีความสุขและ ได้เรียนรู้อะไรมากมาย

ผมจึงอยากแบ่ง ปัน ความสุขและ การเรียนรู้

ที่ได้จาก ปัจจุบัน ขณะนั้น และปัจจุบันขณะนี้ กับทุกๆคนครับ

สำหรับข้อมูลเพิ่ม เติม กรุณาติดต่อ

หรรษา คำล้วน โทร. 085-945-7746

สุรชัย เอกพลากร โทร. 089-686-5811

สิริวัฒน์ โพธิ์กระเจน (เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์)

โทร. 081-629-0457 อีเมล์: info.artcenterchula@gmail.com

หอศิลปวิทยนิทรรศน์

ชั้น 7 ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330

โทรศัพท์: 0-2218-2965 โทรสาร: 0-2218-2907

อีเมล์: info.artcenterchula@gmail.com

www.car.chula.ac.th/art

www.facebook.com/pages/The-Art-Center-Chula/242158381691

เปิดทำการ จันทร์-ศุกร์: 9.00-19.00 น. เสาร์: 9.00-16.00 น.

ปิดวันอาทิตย์และ วันหยุดนักขัตฤกษ์
****************************************************

The Art Center

7th Fl, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University, Phyathai Rd, Pathumwan, Bangkok 10330

Tel: 0-2218-2965, Fax: 0-2218-2907, Email: info.artcenterchula@gmail.com

News Release

June 26, 2010


That Very Moment

Woodcut prints by Surachai Ekphalakorn

 

At The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University

On display July 1-30, 2010

Opening reception: Thursday July 1, 2010 at 6pm

Assistant Professor Surachai Ekphalakorn has a Bachelor’s degree in Art Education from the Faculty of Education, Chulalongkorn University, before earning a Master of Arts in Printmaking from Tama Art University, Tokyo, Japan. He has been teaching at the Department of Visual Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, since 1994.

Surachai’s prints vary in forms and techniques, but his signature, most-developed works are in woodcut prints.

For his latest solo show to be displayed at The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University, his concept is:

‘I like the look and energy that radiates from the brushstrokes.

I feel fulfilled and happy every time I am able to splash “the right stroke” onto a blank space.

I enjoy working with the woodcut process, and being able to carve my abstract brushstrokes as realistic as possible gives me a great sense of satisfaction.

Sometimes adapting the feel and the flow of the Lai Thai into my woodcut allows me to experience such a gentle and delicate yet powerful existence of the art and the self.

I like artworks which can convey the beauty of skills, expressions, and concepts effectively.

Therefore, in my case, I have tried to express my skill in art through the expressiveness of my brushstrokes, the flow of my carving and the precision of my printing skill.

I have tried to convey the expression in my art through the gesture, rhythm, value and colors of the brushstrokes.

I have tried to express the concept in my artwork about what is seen might be different from what really is through the sight of brushstrokes which, at first, might appeared to the viewer as a painting which were created within a few seconds with a few whips of the wrist only, but in fact, is a woodcut which required much longer time from the beginning to the end to create.

For me, making art is a process of learning which gives me such enormous pleasure and fun.

Therefore, I would like to share ‘That’ and ‘This’ Very Moment with you all.’


For more information, please contact:

Siriwat Pokrajen (PR Officer)

Tel: 081-629-0457, email: info.artcenterchula@gmail.com

The Art Center

7th Fl, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University

Phyathai Rd, Pathumwan, Bangkok 10330

Tel: 0-2218-2965, Fax: 0-2218-2907

Email: info.artcenterchula@gmail.com

www.car.chula.ac.th/art

www.facebook.com/pages/The-Art-Center-Chula/242158381691

Monday-Friday 9am-7pm, Saturday 9am-4pm

Closed on Sunday & Public Holidays